|
ข้อมูลส่วนตัว (Personal Information) |
ชื่อ - นามสกุล (Name) |
ดร.เนติ เงินแพทย์ Dr.Neti Ngearnpat |
ตำแหน่งทางวิชาการ (Academic Position) |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Assistant Professor |
ตำแหน่ง (Position) |
อาจารย์ (Lecturer)
|
หลักสูตร / สาขาวิชา (Division) |
จุลชีววิทยา Microbiology |
Office Room |
คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ม.พะเยา |
E-mail |
neti.up1797@gmail.com |
หมายเลขโทรศัพท์ (Phone Number) |
054 466 666 ต่อ 3680 |
ประวัติการศึกษา (Educational Background) |
ระดับการศึกษา |
ปริญญาเอก
วิทยาศาสตรดุษฏีบัณฑิต วท.ด. ( ชีววิทยา )
ปีที่สำเร็จการศึกษา
2552
ชื่อสถาบัน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประเทศ
ไทย |
ระดับการศึกษา |
ปริญญาโท
วท.ม. (ชีววิทยา) ( วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต )
ปีที่สำเร็จการศึกษา
2545
ชื่อสถาบัน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประเทศ
ไทย |
ระดับการศึกษา |
ปริญญาตรี
วทบ. ( ชีววิทยา (จุลชีววิทยา) )
ปีที่สำเร็จการศึกษา
2542
ชื่อสถาบัน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประเทศ
ไทย |
ผลงานทางวิชาการ (Publication) |
|
|
งานวิจัยที่ทำ Research |
1 |
ชื่อโครงการวิจัย "แผนงานวิจัย แผนงานการพัฒนาศักยภาพจุลินทรีย์ในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ มหาวิทยาลัยพะเยา เพื่อใช้ประโยชน์ด้านเกษตรกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชน"
สถานะผู้ทำวิจัย
หัวหน้าโครงการวิจัย
หน่วยงานที่สนับสนุน
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณ
1265000 บาท ระยะเวลา
2558
สถานะงานวิจัย
อยู่ระหว่างการทำวิจัย |
2 |
ชื่อโครงการวิจัย "แผนงานวิจัย เรื่องโครงการศูนย์การเรียนรู้และการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ พื้นที่โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ มหาวิทยาลัยพะเยา "
สถานะผู้ทำวิจัย
หัวหน้าโครงการวิจัย
หน่วยงานที่สนับสนุน
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณ
1127000 บาท ระยะเวลา
2557
สถานะงานวิจัย
อยู่ระหว่างการทำวิจัย |
3 |
ชื่อโครงการวิจัย "โครงการศูนย์การเรียนรู้และการใช้ประโยชน์จากแบคทีเรีย แอคติโนมัยสีท และสาหร่าย"
สถานะผู้ทำวิจัย
หัวหน้าโครงการวิจัย
หน่วยงานที่สนับสนุน
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณ
120000 บาท ระยะเวลา
2555
สถานะงานวิจัย
สำเร็จ |
4 |
ชื่อโครงการวิจัย "ศักยภาพของสาหร่ายน้ำจืดท้องถิ่นขนาดใหญ่ (Spirogyra spp. และ Cladophora spp.) ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยต่อการเป็นสารต้านจุลินทรีย์ก่อโรค "
สถานะผู้ทำวิจัย
หัวหน้าโครงการวิจัย
หน่วยงานที่สนับสนุน
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณ
100,000 บาท ระยะเวลา
2554
สถานะงานวิจัย
สำเร็จ |
5 |
ชื่อโครงการวิจัย "อนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ความหลากหลายของสาหร่ายในพื้นที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ เขื่อนสิริกิตต์ "
สถานะผู้ทำวิจัย
ผู้ร่วมโครงการวิจัย
หน่วยงานที่สนับสนุน
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณ
- บาท ระยะเวลา
2554
สถานะงานวิจัย
สำเร็จ |
6 |
ชื่อโครงการวิจัย "โครงการวิจัย เรื่อง 10 สารเคมีอันตรายต่อผู้บริโภค สนับสนุนโดยภายใต้หัวข้อการวิจัยเชิงนโยบายในสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช"
สถานะผู้ทำวิจัย
ผู้ร่วมโครงการวิจัย
หน่วยงานที่สนับสนุน
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณ
- บาท ระยะเวลา
2552
สถานะงานวิจัย
สำเร็จ |
7 |
ชื่อโครงการวิจัย "ความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชสาหร่ายขนาดใหญ่และคุณภาพน้ำในแหล่ง น้ำภายใน มหาวิทยาลัยนเรศวรพะเยาและข้อมูลการนำไปใช้ประโยช"
สถานะผู้ทำวิจัย
หัวหน้าโครงการวิจัย
หน่วยงานที่สนับสนุน
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณ
100,000 บาท ระยะเวลา
2553
สถานะงานวิจัย
สำเร็จ |
8 |
ชื่อโครงการวิจัย "ความหลากหลายของเดสมิดส์ในแหล่งน้ำบางแห่งของประเทศไทยและการใช้เป็นดัชนีบ่งชี้คุณภาพน้ำ "
สถานะผู้ทำวิจัย
ผู้ร่วมโครงการวิจัย
หน่วยงานที่สนับสนุน
สกว. คปก. งบประมาณ
- บาท ระยะเวลา
2546-2552
สถานะงานวิจัย
สำเร็จ |
9 |
ชื่อโครงการวิจัย "ติดตามตรวจสอบ สาหร่ายพิษและคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำนิ่งในประเทศไทยปี 2543-2544"
สถานะผู้ทำวิจัย
ผู้ร่วมโครงการวิจัย
หน่วยงานที่สนับสนุน
กรมควบคุมมลพิษ งบประมาณ
- บาท ระยะเวลา
2543-2544
สถานะงานวิจัย
สำเร็จ |
รางวัลที่เคยได้รับ Awards |
1 |
ชื่อรางวัล
รางวัลชนะเลิศประเภท Oral Presetation (รางวัลดีเด่น) จากผลงานเรื่อง “การประเมินคุณภาพน้ำโดยใช้แพลงก์ตอนพืชและโคลิฟอร์มแบคทีเรียเป็นดัชนีบ่งชี้ในอ่างเก็บน้ำของมหาวิทยาลัยพะเยา” กลุ่มการจัดการทรัพยากรน้ำ หน่วยงานที่ให้รางวัล
ในการงานประชุมทางวิชาการ พะเยาวิจัยครั้งที่ 1 “ปัญญาเพื่อความเข้มแข็งของชุมชน ระหว่างวันที่ 12-13 มกราคม 2555 ณ อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา ปีที่ได้รับ 2555 |
2 |
ชื่อรางวัล
รางวัลชนะเลิศประเภท Oral Presentation (ดีเด่น) ในการนำเสนอผลงานวิจัยทางด้าน จุลินทรีย์เรื่อง “สาหร่ายเดสมิดส์ชนิดใหม่ในประเทศไทย” หน่วยงานที่ให้รางวัล
ในการประชุมอนุกรมวิธานและซิส เทมาติคส์ในประเทศไทย ครั้งที่ 1 (TST) ระหว่างวันที่ 2-4 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ได้รับ 2554 |
3 |
ชื่อรางวัล
รางวัลที่ 1 การวาดลายเส้นแพลงก์ตอนพืช ในการอบรมเชิงปฎิบัติการ “การวาดภาพและถ่ายภาพทางวิทยาศาสตร์” ระหว่างวันที่ 9-12 มีนาคม 2553 หน่วยงานที่ให้รางวัล
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ได้รับ 2553 |
4 |
ชื่อรางวัล
รางวัลวิทยานิพนธ์ ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีการศึกษา 2552 ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง “ ความหลากหลายทางชีวภาพของเดสมิดส์ในแหล่งน้ำจืดบางแห่งของประเทศไทยและความสัมพันธ์กับคุณภาพน้ำ” ได้รับเมื่อ 20 มกราคม 2553 หน่วยงานที่ให้รางวัล
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ได้รับ 2553 |
ประสบการณ์อื่นๆ Other Experience |