1001 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
อบรมออนไลน์ ด้านมาตรฐานความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ ESPReL |
12 มิถุนายน 2566 |
6 |
ปฏิบัติตนตามมาตรฐานความปลอดภัยที่ได้อบรมมาเพื่อความปลอดภัยขณะใช้ห้องปฏิบัติการทั้งต่อตนเอง ผู้ร่วมงาน และลดการเกิดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น |
สำนักงานวิจัยแห่งชาติ (วช) |
1002 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
แพทยศาสตรศึกษา standard setting and MPL |
2 มิถุนายน 2566 |
2 |
ใช้ในการหา MPL ของข้อสอบก่อนนำไปใช้ในการสอบจริงและใช้ MPL ในการกำหนดเกณฑ์การประเมินผลการเรียนของนิสิต |
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา |
1003 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
โครงการพี่เลี้ยงนักวิจัย ประจำปี 2566 เรื่อง เทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ |
1 มิถุนายน 2566 |
5 |
นำแนวทางการเขียน manuscript จากวิทยากร มาประยุกต์ใช้ในการเขียน first draft การเขียน proposal เพื่อขอทุนงานวิจัย |
คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยพะเยา |
1004 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
Chula lunch talk หัวข้อ แท็กติกการสอนในยุค คิดอะไรไม่ออกบอก ChatGPT |
31 พฤษภาคม 2566 |
1 |
ใช้ chat GPT เพื่อกระตุ้นการเกิด active learning โดย ChatGPT จะเป็นตัวเริ่มในการระดมความคิด (brainstorming) และผู้เรียนจะช่วยในการออกความคิด วิเคราะห์ประเด็นที่ ChatGPT เสนอ แต่อย่างไรก็ตามผู้ที่ใช้ ChatGPT จะต้องมีประสบการณ์ในการสอนในระดับหนึ่งหากใช้ ChatGPT ในการออกแบบการเรียนการสอน ออกแบบ course syllabus เพื่อจะตัดสินใจได้ว่าควรจะเลือกใช้การะบวนการเรียนการสอนที่ออกแบบโดย chatGPT หรือไม่ |
Learning Innovation Center, Chulalongkorn University |
1005 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
Chula lunch talk หัวข้อ chat GPT ช่วยทำวิจัยได้ ไม่ต้องเหนื่อยแทบตาย |
24 พฤษภาคม 2566 |
1 |
ใช้ chat GPT ในการคัดกรองงานวิจัย ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับแนวทางการวิจัยของเรา เพื่อมาใช้ในการ review สรุปข้อมูล การทำบรรณานุกรม ใช้ในการแก้ไข ตรวจสอบไวยากรณ์ต้นฉบับบทความงานวิจัย การนำแนวคิดที่น่าสนใจของ chat GPT agents มาใช้ในการจุดประเด็นที่สำคัญ แต่อย่างไรก็ตามก็ตะหนักว่า chat GPT สามารถเข้าใจและเข้าถึงงานวิจัยได้จริงหรือไม่หรือเป็นเพียงการตอบสนองของ chat GPT ในกรณีการตรวจสอบต้นฉบับบทความงานวิจัยซึ่งเราอาจต้องมีการ upload บทความขึ้นสู่ฐานข้อมูลเราต้องตะหนักถึงการถูกเข้าถึงข้อมูลโดยที่เราไม่ต้องการ นอกจากนั้นต้องมีจรรยาบรรณในการใช้ chat GPT ให้เป็นเพียงผู้ผู้ช่วยตรวจภาษา ผู้ช่วยสรุปรวบรวมข้อมูล ไม่ใช่ผู้ร่วมวิจัยหรือนักวิจัยหลัก |
Learning Innovation Center, Chulalongkorn University |
1006 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
เทคนิคการโค้ช |
8 พฤษภาคม 2566 |
6 |
ประยุกต์หลักการ GBT กับนิสิตที่สอน เพื่อให้นิสิตทราบถึงข้อดี ข้อเสีย และแนวทางในการปรับแก้ โดยผู้โค้ชต้องรับฟังนิสิตอย่างตั้งใจ เพื่อให้เรารู้จักตัวตนของนิสิตที่แท้จริง เพื่อจะได้สะท้อนและให้ feedback กลับไปเพื่อให้นิสิตได้ตระหนักรู้เกี่ยวกับตนเองมากขึ้น เพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ให้ได้มากที่สุด |
กองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา |
1007 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
การเลือกวารสารจากฐานข้อมูล scopus เพื่อการตีพิมพ์งานวิจัย |
28 เมษายน 2566 |
2 |
เลือกข้อมูลที่น่าเชื่อถือมาใช้ในการอ้างอิงงานวิจัย การเขียนและเผยแพร่งานวิจัย การเลือกวารสารที่น่าเชื่อเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัย จากวัตถุประสงค์ขอบเขตงานวิจัยของวารสาร (aim and scope) จาก impact factor, cite score, quartile, scopus coverage year และการใช้ AI (Elsevier journal finder) ในการ matching วารสารและ abstract หรือชื่อของงานวิจัยที่จะส่งไปตีพิมพ์ |
สถาบันนวัตกรรมการเรียน ศูนย์บรรณสารและการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยพะเยา |
1008 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
การใช้งานฐานข้อมูล scopus สำหรับการทำงานวิจัย |
25 เมษายน 2566 |
2 |
สืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูล scopus เพื่อดูแนวโน้ม trend งานวิจัย และนำข้อมูลจาก scopus ไปใช้ในการต่อยอดงานวิจัย สืบหาแหล่งทุน งานประชุมวิชาการ (conference) รวมทั้งการสืบค้นวารสารที่จะเหมาะสมกับการตีพิมพ์งานวิจัย |
สถาบันนวัตกรรมการเรียน ศูนย์บรรณสารและการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยพะเยา |
1009 |
อาจารย์นภัทร์ ธนศรีวรุตนันท์ |
อภิปัญญา กับการพัฒนาคนรุ่นใหม่ |
6 พฤศจิกายน 2566 |
2 |
สามารถประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนให้ดี มีความกว้างขวางในหลายด้านมากยิ่งขึ้น |
คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยพะเยา |
1010 |
อาจารย์อานนท์ พัดเกิด |
ประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 12 |
25-27 มกราคม 2566 |
15 |
ได้ทราบทิศทางการวิจัย ร่วมทั้งได้สร้างเครือข่ายวิจัย เพื่อพัฒนาต่อยอดงานวิจัยและสร้างทีมวิจัยระหว่างสถาบัน |
มหาวิทยาลัยพะเยา |