591 |
ดร.วไลลักษณ์ เกิดสรรค์ |
Health Science International Seminar Series” หัวข้อ “The neurochemistry of schizophrenia - beyond dopamine |
6 กุมภาพันธ์ 2567 |
1 |
นำความรู้ที่ได้จากการสัมมนามาปรับปรุงเนื้อหาการสอนในวิชาประสาทวิทยาศาสตร์ โดยเพิ่มข้อมูลเกี่ยวกับบทบาทของสารสื่อประสาทต่าง ๆ ในการเกิดโรคจิตเภท
รวมถึงใช้ในกรณีศึกษาจากการสัมมนาเพื่อสอนนักศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์และวิจัยการทำงานของสมองในผู้ป่วยโรคจิตเภท |
บัณฑิตวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์ และกองวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร |
592 |
ดร.วไลลักษณ์ เกิดสรรค์ |
การพัฒนาความร่วมมือและสร้างเครือข่าย เพื่อสนับสนุน พัฒนา และผลักดันงานวิจัยส่วนประกอบอาหาร และผลิตภัณฑ์อาหารมูลค่าสูงให้เกิดการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ |
1 กุมภาพันธ์ 2567 |
2 |
การอบรมนี้เป็นแนวทางเพื่อมาประยุกต์ใช้ในด้านการวิจัยเพื่อช่วยเพิ่มคุณค่าและประสิทธิภาพของงานวิจัย รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สามารถแข่งขันได้ในตลาดเชิงพาณิชย์ |
สถาบันนวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยพะเยา |
593 |
ดร.วาทิตา ผจญภัย |
tips on writing and publishing a scientific paper |
2 กุมภาพันธ์ 2567 |
6 |
นำความรู้ที่ได้จากการอบรมไปประยุกต์ใช้กับการเขียนงานวิชาการเพื่อส้่งตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ |
กองวิจัย ม.พะเยา |
594 |
ดร.วไลลักษณ์ เกิดสรรค์ |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง พัฒนาความรู้การดูแลและฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยระยะกลางกลุ่มผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักและผู้สูงอายุ |
26 มกราคม 2567 |
6 |
การเชื่อมโยงทฤษฎีกับการปฏิบัติในการสอนกายวิภาคศาสตร์ โดยอธิบายถึงกลไกการฟื้นฟูสภาพและการรักษาผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักและผู้สูงอายุ |
คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา และ เครือข่ายนักกายภาพบำบัดจังหวัดลำปาง |
595 |
ดร.วไลลักษณ์ เกิดสรรค์ |
โครงการประชุมวิชาการพะเยาวิจัย ครั้งที่ 13 |
24-26 มกราคม 2567 |
18 |
- การพัฒนาหลักสูตรการสอน: อาจารย์สามารถนำความรู้และนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ได้รับจากการประชุมมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรการสอน เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ที่ทันสมัยและเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาและการทำงานในอนาคต
- การปรับปรุงกระบวนการวิจัย: นักวิจัยสามารถนำข้อเสนอแนะและประสบการณ์จากการอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นมาปรับปรุงกระบวนการวิจัยของตนให้มีประสิทธิภาพและคุณภาพมากยิ่งขึ้น |
มหาวิทยาลัยพะเยา |
596 |
อาจารย์อานนท์ พัดเกิด |
โครงการประชุมวิชาการพะเยาวิจัย ครั้งที่ 13 |
24-26 มกราคม 2567 |
15 |
นำความรู้ที่ได้มาพัฒนาต่อยอดงานวิจัยที่กำลังดำเนินการอยู่ให้มีความสมบูรร์มากยิ่งขึ้น อันนำไปสู่การตีพิมพ์ผลงานในระดับนานาชาติที่มี impact factor และอยู่ใน quartile ที่สูงขึ้น |
มหาวิทยาลัยพะเยา |
597 |
ดร.วาทิตา ผจญภัย |
แนวทางการสร้างแรงบันดาลใจในการผลิตผลงานวิชาการ |
16 มกราคม 2567 |
3 |
เกิดแรงบันดาลใจในการผลิตผลงานวิชาการในอนาคต |
สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ ม พะเยา |
598 |
ดร.วาทิตา ผจญภัย |
Future Thailand อว.ยุคใหม่เพื่ออนาคตประเทศไทย |
11 มกราคม 2567 |
6 |
นำเนื้อหาการบรรยายหัวข้อต่อไปนี้ มาพัฒนาวางแผนการเรียนการสอบให้เหมาะสมกับรายวิชาที่สอน
1. การปรับการเรียนการสอน ทำให้จบการศึกษาภายใน 4 ปี
2. การปรับการเรียนการสอน หลักสูตรที่จำเป็นต่อการทำงานยุคใหม่
3. จัดทำหลักสูรที่เน้นการเรียนคู่กับปฏิบัติการ สร้างผู้ประกอบการใหม่ เช่น วิชาสหกิจศึกษา
4. จัดทำและรับรองทักษะ skill transcript
5. การสนับสนุนวิชาการเรียนควบคู่การทำวิจัย |
กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม |
599 |
ดร.วาทิตา ผจญภัย |
สาระสำคัญในการออกแบบหลักสูตร เพื่อตรวจสอบหลักสูตร |
1 กุมภาพันธ์ 2567 |
3 |
สามารถออกแบบเนื้อหาหลักสูตรในส่วนต่างๆ เพื่อใช้ในการประเมินตรวจสอบหลักสูตรในอนาคต |
สภาเครือข่ายพัฒนาอาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย |
600 |
นางสาวพัชรินทร์ ใจข้อ |
การประชุมวิชาการเครือข่ายภูมิภาคด้านมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการในภูมิภาค : ภาคเหนือ ประจำปี 2566 |
5 มกราคม 2567 |
6 |
1.นำข่าวสารที่ได้มาประชาสัมพันธ์และสื่อสารให้แก่ผู้บริหาร นักวิจัย ผู้ที่เกี่ยวข้องได้ทราบถึงนโยบายของทางวช. ซึ่งจะมีผลต่อการจัดสรรทุนวิจัยให้แก่อาจารย์ในคณะ ในอนาคตอันใกล้นี้
2.นำมาจัดทำแผนเพื่อจัดทำมาตรฐานห้องปฏิบัติการต่อไป |
วช.ร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |