631 |
ดร.วาทิตา ผจญภัย |
Why and how to write quality manuscripts |
27 ตุลาคม 2566 |
3 |
นำความรู้ที่ได้จากการอบรมมาพัฒนา ปรับปรุง แนวทางในการเขียน manuscript ให้มีคุณภาพมากขึ้น |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.พะเยา |
632 |
ดร.วไลลักษณ์ เกิดสรรค์ |
การใช้ระบบ Smart Lab |
6 ตุลาคม 2566 |
6 |
นักวิจัยที่ใช้ห้องปฏิบัติการและสารเคมีสามารถนำความรู้จากการอบรมเรื่องระบบ SMART LAB มาประยุกต์ใช้ได้โดยเริ่มจากการจัดการสารเคมีให้ปลอดภัยและเป็นระบบตามมาตรฐานที่ได้เรียนรู้ โดยการติดตามและควบคุมการใช้สารเคมีอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังสามารถปรับปรุงการจัดการอุปกรณ์และเครื่องมือวิทยาศาสตร์ให้เป็นระเบียบและพร้อมใช้งานอยู่เสมอ การจัดการของเสียและวัสดุเหลือใช้ก็จะถูกนำมาใช้เพื่อให้การกำจัดของเสียเป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัย ระบบการจัดการด้านความปลอดภัยจะช่วยให้นักวิจัยสามารถปฏิบัติงานในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย การจัดการข้อมูลและเอกสารที่เป็นระบบช่วยให้งานวิจัยมีความแม่นยำและสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย นอกจากนี้การฝึกอบรมและพัฒนาทักษะที่ได้รับจะทำให้นักวิจัยมีความรู้และความสามารถในการใช้งานระบบ SMART LAB ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการประเมินและปรับปรุงคุณภาพงานวิจัยอย่างต่อเนื่องจะช่วยให้งานวิจัยมีความก้าวหน้าและมีคุณภาพสูงขึ้น |
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) |
633 |
อาจารย์อานนท์ พัดเกิด |
Tips and tricks for faster RNA sequencing |
10 ตุลาคม 2566 |
1 |
นำมาประยุกต์ใช้กับงานวิจัยที่จะมีการสกัดแยก RNA เพื่อส่งทำ sequencing และ transcriptome |
QIAGEN |
634 |
อาจารย์อานนท์ พัดเกิด |
การฝึกอบรมการใช้งานระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศด้านความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการของประเทศ ระยะที่ 2 (Smart Lab Platform Phase 2) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
6 ตุลาคม 2566 |
6 |
นำมาใช้กับงานวิจัยที่มีการใช้สารเคมี |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
635 |
ดร.สิทธิศักดิ์ ทองรอง |
จัดทำโครงร่างองค์กรเพื่อการพัฒนาสถาบัน ตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ ฉบับปี 2567 - 2570 |
5 ตุลาคม 2566 |
3 |
|
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
636 |
อาจารย์อานนท์ พัดเกิด |
การจัดทำโครงร่างองค์เพื่อการพัฒนาสถาบันตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ ฉบับปี 2567-2570 |
5 ตุลาคม 2566 |
3 |
มีความรู้และเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการศึกษา ใช้เป็นแนวทางในการจัดทำโครงร่างองค์กรตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ ในการพัฒนาสถาบัน |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
637 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
ยกระดับ project-based learning ส่งเสริมศักยภาพนักเรียนผ่านการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นพื้นฐาน (empowering students through project-based learning) |
2 ตุลาคม 2566 |
2 |
ตระหนักถึงรูปแบบการเรียนการสอนแบบ project based learning ซึ่งทำให้ผู้เรียนใช้ทั้ง head, hand และ heart ดังนั้นนิสิตจะเกิดการเรียนรู้เชิงลึก มีการพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์และการการปัญหา |
Edsociate การศึกษาตลอดชีวิต cmu lifelong มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
638 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม รูปแบบ APA |
27 กันยายน 2566 |
3 |
การเขียนอ้างอิงแบบแทรกเนื้อหา และการเขียนบรรณานุกรมตามรูปแบบ APA ได้ถูกต้อง |
กลุ่มงานบริการสารสนเทศ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
639 |
อาจารย์อานนท์ พัดเกิด |
Author perspectives: Publishing in open access journal |
3 ตุลาคม 2566 |
1 |
It can be applied to publish the research work for unrestricted knowledge dissemination. |
Wiley |
640 |
อาจารย์อานนท์ พัดเกิด |
ยกระดับ Project-Based Learning” ส่งเสริมศักยภาพนักเรียนผ่านการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน |
2 ตุลาคม 2566 |
2 |
นำมาประยุกต์ใช้เพื่อการตรียมพร้อมเมื่อมีนักเรียนโครงการ วมว. ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยาเข้ามาทำโครงงานวิทยาศาสตร์ เพื่อให้โครงสรา้งมีความเหมาะสมกับนักเรียนและเป็นไปตามความสนใจของนักเรียนรวมทั้งสามารถสรา้งการเรียนรู้ให้นักเรียนด้วย |
คณะทำงานโครงการนวัตกรรมการศึกษา EdSociate วิทยาลัยการศึกษาตลอดชีวิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |