651 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
การรักษาด้วยไฟฟ้าทางกายภาพบำบัดและการฟื้นฟู (electrophysical agents and rehabilitation) |
3 กันยายน 2566 |
6 |
สอนให้นิสิตกายภาพบำบัดได้ตระหนักถึงความเกี่ยวข้องของ electrophysical agents กับรายวิชา anatomy และ neuroanatomy เพื่อใช้ในการวินิจฉัยโรค การรักษาผู้ป่วยในระบบประสาท (nervous system) ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ (musculoskeletal system) ซึ่งในปัจจุบันได้มีการพัฒนาเครื่องมือและความก้าวหน้าในการใช้เครื่องมือรักษา |
สมาคมกายภาพบำบัดแห่งประเทศไทย |
652 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
ติดปีกการจัดการเรียนการสอน พิชิตแผนการพัฒนาบุคลากร ตีแตกทุกขั้นตอนกับ Gamification |
1 กันยายน 2566 |
2 |
ตระหนักถึงการเรียนรู้แบบ gamification มาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนในรายวิชากายวิภาคศาสตร์ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีขึ้นและมีความกระตือรือร้นในการที่จะเรียนรู้ |
Edsociate การศึกษาตลอดชีวิต cmu lifelong และ base playhouse |
653 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
อบรมเสวนาก้าวทันงานวิจัยผลิตภัณฑ์ต้นแบบในสัตว์ทดลอง |
30 สิงหาคม 2566 |
3 |
คำนึงถึงจริยธรรมในการใช้สัตว์ทดลองเพื่องานวิจัย โดยยึดหลัก 3R ซึ่งประกอบด้วย reduction, refinement และ replacement เช่นการใช้ artificial immune system model และ immunoinformatics |
ฝ่ายส่งเสริมจริยธรรมการวิจัย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช) |
654 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
โครงการพัฒนาอาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ หัวข้อ เทคนิคการเขียนบทความวิจัย และการประเมินคุณภาพบทความในมุมมองของผู้ทรงคุณวุฒิ |
25 สิงหาคม 2566 |
6 |
นำหลักการเขียน conceptual framework มาใช้ในการเขียนขอทุนวิจัย นำวิธีการเขียน e-mail เพื่อติดต่อกับ professor ในและต่างประเทศจากวิทยากรมาประยุกต์ในการหา collaborators นำเทคนิคของวิทยากรมาใช้ในการเขียน manuscript |
คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา |
655 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
โครงการพัฒนาอาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ หัวข้อ เทคนิคการเขียนเอกสารวิชาการ ตำรา/หนังสือ |
24 สิงหาคม 2566 |
3 |
นำความรู้ที่ได้จากวิทยากรมาเป็น guideline ในการเขียนเอกสารวิชาการ ตำรา หนังสือ รวมทั้งใช้เป็นแนวทางในการรวมรวบเอกสารประกอบคำสอนว่าต้องคำนึงถึงความถูกต้อง ความเข้าใจของเนื้อหา การใส่บรรณานุกรมรวมถึงการจัดหน้าให้อ่านง่ายเป็นระเบียบ |
คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา |
656 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
ความท้าทายของการสร้างมาตรฐานจริยธรรมงานวิชาการและงานวิจัย |
21 สิงหาคม 2566 |
4 |
ตระหนักถึงจริยธรรมในการทำงานวิจัย การทำ lab note การลง log book การใช้เครื่องมือ เพื่อเป็นหลักฐานในการยืนยันว่าไม่ได้เป็นข้อมูลที่เราสร้างขึ้นมาและยืนยันความบริสุทธิ์ว่าเราไม่ได้คัดลอกข้อมูลของผู้อื่น การเขียนผลงานทางวิชาการที่ไม่ละเมิดงานวิจัย และบทลงโทษของการละเมิดผลงานวิจัย |
คณะกรรมการจริยธรรมงานวิชาการและงานวิจัย สำนักบริหารวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
657 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
การพัฒนางานวิจัยเชิงธุรกิจด้านพลาสมาเกษตร วัสดุศาสตร์ และการแพทย์ |
18 สิงหาคม 2566 |
3 |
ได้แนวคิดการทำงานวิจัยใหม่ๆ ที่น่าสนใจเกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีพลาสมามาใช้ทางด้านการแพทย์ |
สถาบันนวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยพะเยา |
658 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
Ovid New Video Tools for Anatomy Teaching |
17 สิงหาคม 2566 |
2 |
แนะนำนิสิตเกี่ยวกับ anatomy app และ dissection videos มาใช้เสริมในการเรียน anatomy ช่วยในการเตรียมตัวล่วงหน้าก่อนการลงมือปฏิบัติจริงและทบทวนเนื้อหา |
บริษัท บุ๊คโปรโมชั่นแอนด์เซอวิส จำกัด |
659 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
อบรมเชิงปฏิบัติการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ เรื่องจริยธรรมพื้นฐาน และการทบทวนพิจารณาโครงการวิจัย |
16-17 สิงหาคม 2566 |
9 |
การเขียน methodology โดยคำนึงถึงการมีความเสี่ยง (risk) น้อยสุดและมีประโยชน์(beneficence) สูงสุดแก่ subjects และสังคม การพิจารณางานวิจัยอย่างคร่าวว่าควรขอจริยธรรมแบบ exemption, expedited หรือ full board review หากวางแผนทำงานวิจัยในมนุษย์ |
กองบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยพะเยา |
660 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
บรรยายพิเศษ บนเส้นทางนักวิจัย สำคัญไหมต้องสร้าง niche: experiences and ideas worth spreading |
15 สิงหาคม 2566 |
3 |
หาตัวตนให้เจอว่าเราถนัดงานวิจัยด้านใดและยึดแนวทางนั้นในการทำงานวิจัย เพื่อตีพิมพ์ การขอตำแหน่งทางวิขาการ การสร้างองค์ความรู้ การตกผลึกความรู้ และหาแนวทางซึ่งจะนำงานวิจัยไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพราะงานวิจัยในยุคปัจจุบันส่วนใหญ่จะเน้นมุ่งไปสู่การสร้าง patent มากกว่าการ publication แต่อย่างไรก็ตามงานวิจัยที่เป็น basic research ก็ยังคงมีความสำคัญ แต่ยังมีความต้องการที่จะพัฒนาไปเป็น ยพนกีแ โดยมีการทำงานร่วมกับศาสตร์แขนงอื่นๆ |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา |