671 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
รับฟังการรายงานผลการอบรมการดำเนินโครงการวิจัย งบประมาณรายได้ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปีงบประมาณ 2566 |
19 กรกฎาคม 2566 |
3 |
จุดประเด็นแนวคิดในการสร้างงานวิจัยใหม่ๆ จนนำไปสู้การสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์ |
ฝ่ายวิจัย นวัตกรรม ทรัพย์สินทางปัญญา และสื่อสารงานวิจัย คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
672 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
CRISPR-CAS9 screen: a high throughput screening method for identifying the novel components in NLG process in mammalian cells |
19 กรกฎาคม 2566 |
1 |
ตระหนักถึงการนำเทคโนโลยี CRISPR-CAS9 มาใช้ในงานวิจัยที่มีการ knock-in หรือ knock-out gene แทนเทคนิคอื่นๆ เช่น shRNA และ siRNA ซึ่งอาจเกิดมีข้อเสียคือเกิด off target ได้ |
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
673 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
Stakeholder needs for curriculum development |
14 กรกฎาคม 2566 |
6 |
ตระหนักถึงการออกแบบหลักสูตรซึ่งเน้น outcome base มากกว่า subjective base การออกแบบหลักสูตรต้องตอบโจทย์ stakeholder ที่สำคัญคือผู้ใช้นิสิตและต้องมีการตอบโจทย์การประกอบอาชีพของนิสิต E ( employee) B (business owner) S (self-employee) I (investor) และตอบโจทย์อื่นๆ เช่น BCG economic model และ SDGs เป็นต้น |
กองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา |
674 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
หลักสูตรความปลอดภัยด้านชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (BSL-2) |
10-11 กรกฎาคม 2566 |
12 |
ตระหนักถึงความปลอดภัยต่อตนเอง เพื่อนร่วมงาน รวมทั้งการรักษาความปลอดภัยให้กับ specimen ในการวิจัยหากเป็นสารชีวภาพที่มีเสี่ยงหรือความอันตรายสูง ประเมินความเสี่ยง ตระหนักถึงความเสี่ยง ความอันตราย และเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดซึ่งอาจเกิดขึ้นและเตรียมพร้อมในการรับมือ และตอบโต้หากเกิดเหตุฉุกเฉิน |
สถาบันนวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยพะเยา |
675 |
อาจารย์ศตพร แจ่มสุวรรณ |
เรียนรู้จากพี่เลี้ยงเดอะ ซีรีย์ ปีที่ 4 โปรแกรมที่ 3 งานวิจัยเชิงพื้นที่ทำอย่างไรถึงจะตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ |
6 กรกฎาคม 2566 |
2 |
นำแนวทางจากอาจารย์และนักวิจัยที่ประสบความสำเร็จในการตีพิมพ์งานวิจัยเชิงพื้นที่มาปรับใช้กับการเขียน proposal การดำเนินงานวิจัย การเลือกวารสารเพื่อการตีพิมพ์ |
กองบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยพะเยา |
676 |
ดร.วไลลักษณ์ เกิดสรรค์ |
Electro-neurophysiological testing |
5 กันยายน 2566 |
1 |
นำมาใช้ในการเรียนการสอน |
มหาวิทยาลัยมหิดล |
677 |
อาจารย์นภัทร์ ธนศรีวรุตนันท์ |
Rehabilitation technology and its impact on physiotherapy / Electro-neurophysiological testing |
5 กันยายน 2566 |
2 |
สามารถนำมาปรับใช้กับวิธีการสอน การเน้นเนื้อหาสาระต่างๆให้กับนิสิตแพทย์และกายภาพบำบัดได้เป็นอย่างดี |
Mahidol University Faculty of Physical Therapy |
678 |
ดร.สิทธิศักดิ์ ทองรอง |
“GAMIFICATION” ติดปีกการจัดการเรียนการสอน พิชิตแผนการพัฒนาบุคลากร ตีแตกทุกขั้นตอนกับ Gamification |
1 กันยายน 2566 |
3 |
สามารถนำวิธีการใช้การสอนแบบมีเกมประกอบให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น |
โครงการ EdSociate |
679 |
ดร.วาทิตา ผจญภัย |
การประชุมแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากนักวิชาการที่ได้รับทุนจากแหล่งต่างๆ |
5 กันยายน 2566 |
3 |
สามารถนำความรู้ที่ได้มาเขียนโครงการเพื่อขอทุนจากแหล่งทุนต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น |
กองวิจัย ม.พะเยา |
680 |
อาจารย์อานนท์ พัดเกิด |
Gamification |
1 กันยายน 2566 |
2 |
นำมาพัฒนาใช้กับการเรียนการสอน โดยใช้ gamification เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้และความสนใจของนิสิต |
วิทยาลัยการศึกษาตลอดชีวิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |